มีนาคม 27, 2024

ความเชื่อแปลกๆ ความเชื่อโชคลาง ทั่วทั้งโลก

ความเชื่อเรื่องโชคดี ความเชื่อแปลกๆของคนจีน ความเชื่อโบราณ

ประเพณีไทย ยังเกี่ยวเนื่องกับความเชื่อมีอะไรบ้าง ที่เกี่ยวกับความเชื่อ

ประเพณีไทย

ประเพณีไทย 1. ความเชื่อของพิธีแต่งงาน

ประเพณีไทย เป็นประเพณี ที่มีความละเอียดอ่อน ที่มีคู่บ่าวสาว เป็นความเชื่อ ของคนไทย มาตั้งแต่โบราณ ว่าให้แยกหญิงชายอยู่ห่างกัน 3 วัน เพื่อเป็นการอยู่ร่วมกัน ตลอดไปและประเพณี

การแต่งงาน ยังมีความเชื่อ ที่ละเอียดอ่อน เป็นอย่างมาก โดยความเชื่อนั้น จะเชื่อดาวฤกษ์ยามงามดี จะทำให้เป็นความสำเร็จ ของครอบครัว และเมื่อขบวนขันหมาก ก็เป็นพิธีสำคัญ

ประเพณีไทย

อีกอย่างหนึ่ง ของพิธีการแต่งงาน ฝ่ายเจ้าสาวไม่ควรเชื้อเชิญฝ่ายเจ้าบ่าว ให้เข้ามาโดยทันที ควรจะมีประตูเงินประตูทองกั้นระหว่างกลางก่อน ที่จะเข้ามาสู่บ้านเจ้าสาว เพื่อทำพิธี

และควรมีการนิมนต์ พระมาเจริญพระพุทธมนต์ เพื่อสร้างความเป็นสิริมงคล ให้แก่บ่าวสาว และควรนิมนต์พระ 9 รูป เพื่อเป็นความเจริญก้าวหน้า ของเจ้าสาว และเจ้าบ่าว ยังมีความเชื่ออีกมากมาย ที่เป็นประเพณี ของไทย ในประเพณี ของการแต่งงาน 

ประเพณีไทย 2.พิธีอุ้มพระดำน้ำ ความเชื่อ ของคนไทย

เป็นความเชื่อของประเพณีอุ้มพระดำน้ำมีมากกว่า 400 ปีแล้วเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ที่นี่นำภูมิปัญญาท้องถิ่น จากความเชื่อ ของบรรพบุรุษของคนไทย ที่มีความเชื่อ

และศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา เป็นการทำพิธีอุ้มพระดำน้ำ เพื่อให้เกิดความเชื่อ และศรัทธาดูแลแม่น้ำลำคลอง ให้สะอาด หนังวิธีอุ้มพระดำน้ำ ที่จะยกตัวอย่าง ที่จังหวัดเพชรบูรณ์จะเป็นการอุ้มพระดำน้ำ ที่มีสายน้ำไหลเชี่ยว และทำพิธีการทางศาสนา

ประเพณีไทย

โดยการอุ้มพระคลื่น และลงจากกันดำน้ำ จะทำตรงกับวันแรม 15 ค่ำเดือน 10 เป็นความเชื่อตั้ง แต่สมัยโบราณวิธีนี้ เป็นการสอน ให้ลูกหลานนั้นได้พึ่งพาตนเอง เป็นการทำพิธี

ในตอนกลางวัน ในพิธีจะมีการแห่ เพื่อลงสู่แม่น้ำเป็นการสร้างความสามัคคี ในหมู่คณะ จัดทำขึ้นทุกปี ของวิธีการต้มน้ำดำพระ เพื่อเป็นความเชื่อของคนไทย สืบสานวิธี และปฏิบัติตามประเพณี เก่าแก่ แต่ยาวนาน กลุ่มชาติพันธุ์

3.พิธีตักบาตรเทโว

เป็นการทำบุญตามประเพณี ที่มีชื่อเรียกว่า ตักบาตรเทโวโรหณะ เป็นช่วงการทำบุญวันออกพรรษา และจัดทำกิจกรรม ของทุกจังหวัด เพื่อสอดคล้องกับวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียม

แต่ละท้องถิ่น แต่ละจังหวัดนั้นเอง เป็นการจัดเตรียม การทำบุญถวายอาหารพระ รวมญาติพี่น้อง เพื่อสร้างบุญ และกุศลในวันออกพรรษามีความเชื่อว่า สมเด็จพระพุทธเจ้า จะเสด็จออกจาก การจำพรรษาลงมาสู่แดนมนุษย์ ทำให้มนุษย์

จะต้องทำบุญ วันออกพรรษา เรียกว่าพิธีตักบาตรเทโว เป็นการรับเสด็จพระพุทธเจ้านั้นเอง เป็นการกระทำที่ให้ระลึกถึง พระพุทธเจ้า ทำอาหารทำบุญตักบาตร ในนั้น

ไม่ว่าจะเป็น การทำข้าวต้ม หรืออาหาร เพื่อเป็นการระลึกถึง และอธิษฐานสู่พระพุทธเจ้า ส่วนกิจกรรม ของพิธีตักบาตรเทโว จะต้องทำในตอนเช้าอาหาร ที่จะต้องเตรียมมา ความเชื่อแปลกๆ

ใส่บาตรตอนเช้านิยมทำข้าวต้มมัด และหลังจากเสร็จพิธี จะมีการสมาทานศีล และและสิ่งต่างๆ และกำหนดวัน การทำพิธีตักบาตรเทโว นั้นจะเริ่มทำ ก่อนวันออกพรรษา 1 วัน

คือวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 11 เราจะได้มีการเตรียมตัว และอุปกรณ์ต่างๆ ในการทำพิธีตักบาตรเทโว 1 วันเป็นประเพณี ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ โบราณจนถึงปัจจุบัน ให้ลูกหลานได้นึกถึง และจัดทำตามประเพณี 

4.พิธีแห่เทียนพรรษา

ประเพณีนี้ เรียกว่า พิธีแห่เทียนพรรษา จัดทำขึ้น ในช่วงวันเข้าพรรษา จุดประสงค์หลักของ การแห่เทียนพรรษา คือเพื่อ ให้พระสงฆ์ ได้จุดบูชา ตามวัดอารามหลวง

ในการจำพรรษา 3 เดือน ในวันเข้าพรรษา การแห่เทียนพรรษา เป็นประเพณี ที่มีความผูกพันกับชุมชน และหมู่บ้าน ในหมู่บ้าน จะมีการรวบรวม จากเรียน เพื่อหล่อเป็นรูปปั้นต่างๆ

แสดงออกถึง ความสามัคคี ความรักใคร่กลมเกลียว แต่ละหมู่บ้านพร้อมกับภูมิปัญญา ด้วยการนำเทียน ที่หล่อปั้น ออกมาเป็นรูปปั้นต่างๆ ทำลวดลายสวยงาม แบบสลักบนต้นเทียน

แนะนำมาตกแต่ง และประดับ ให้สวยงามบางหมู่บ้าน หรือจังหวัด จัดการแข่งขัน การแห่เทียนพรรษา ตัดสินด้วยการประเภท และการแกะสลักที่สวยงาม เป็นการประดับประดาด้วยผ้าไหม

ดอกไม้สดและเครื่องแต่งกายต่างๆ ของพิธีที่ใช้แห่เทียนพรรษา การตกแต่งขบวน และมีเครื่องดนตรีประจำท้องถิ่น ในขบวนจะมีการฟ้อนรำ ในการแห่เทียนพรรษา

เป็นศิลปะวัฒนธรรม ที่อยู่กับคนไทยมายาวนาน ทำให้มีความสวยงาม เกี่ยวกับเทียนที่นำมาเป็นรูปปั้น และแกะสลักผสมผสาน กับฝีมือของช่างเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น ที่สืบทอดได้อีกยาวไกล 

5.พิธีไหลเรือไฟ

จะเป็นพิธีที่จัดทำขึ้นตามจังหวัด ที่อยู่ร่วมแม่น้ำโขง อาทิตย์ขึ้น จังหวัดนครพนมสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีไหลเรือไฟทุกๆปี โดยได้ยึดหลักความเชื่อว่า เป็นประเพณีการบูชารอยพระพุทธบาท

การสักการะท้าวผกาพรหม และการบวงสรวงพระธาตุจุฬามณีด้วย การระลึกถึง พระคุณบิดามารดา และการระลึกถึง พระแม่คงคา ด้วยการบูชา จากการไหลเรือไฟ

หรือล่องเรือไฟ หรือปล่อยเรือไฟ ที่ทำขึ้นบนเรือต่อจากไม้ไผ่เป็นโครงสร้าง ที่สวยงามประดับด้วยไฟ หรือเทียน ที่ให้ลุกเป็นไฟตามรูปร่างโครงสร้าง ที่จัดทำ และนิยมปฏิบัติ

ในเทศกาลวันออกพรรษาในวันที่ 15 ค่ำเดือน 11 หรือวันแรม 1 ค่ำเดือน 11 เป็นความเชื่อ ของคนภาคอีสานที่ปฏิบัติสืบต่อกัน มาเป็นเวลายาวนาน @ufabet168v4

เป็นประเพณีที่สวยงาม ที่มองไปในลุ่มแม่น้ำโขง ในช่วงกลางคืนของพิธีไหลเรือไฟ จะเป็นพิธีที่สวยงามมาก เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบ ในบรรยากาศที่สวยงาม ของการไหลเรือไฟ บนลุ่มแม่น้ำโขง